วันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2556

วันศุกร์ ที่27 เดือนกันยายน พ.ศ.2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 16
วันศุกร์ ที่ 27 เดือนกันยายน พ.ศ.2556



วันนี้เป็นวันสุดท้ายในการเรียนปี2ของภาคเรียนที่1 วันนี้อาจารย์ปิดคอส อาจารย์ให้นักศึกษาทำmy mapping เรื่องเรียนวิชานี้แล้วได้รีบรู้อะไรบ้าง





ปิดคอสแล้วค่ะ

วันศุกร์ ที่ 20 gเดือนกันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15
วันศุกร์ ที่ 20  เดือนกันยายน พ.ศ.2556


วันนี้อาจารยืให้จับกลุ่มทำกิจกรรมเป็นกลุ่มโดยแต่กลุ่มให้เลือกหน่อยการเรียนรู้กลุ่มละหนึ่งหน่วยส่วนกลุ่มดิฉันเลือกหน่วยการเรียนรู้ดอกไม้  กลุ่มดิฉันก็เลยแตกเป็น สองหัวข้อ ดอกไม้อาเซียนกับดอกไม้วันสำคัญ

ผลงานของกลุ่มดิฉัน








วันศุกร์ ที่13 เดือนกันยายน พ.ศ.2556

บันทึกอนุทิน  ครั้งที่ 14
วันศุกร์  ที่13  เดือนกันยายน  พ.ศ.2556



วันนี้อาจารย์ให้จับกลุ่มแล้วทำมุมต่างๆที่เราจะเลือกมาสอนเด็ก กลุ่มดิฉันเลือกทำมุมบทบาทสมมติ
ก็จะแตกออกมาเป็นหัวข้อย่อยๆ บทบาทสมมติอาชีพในฝัน หัวข้อย่อยคือชาวนา คุณครู  คุณหมอ ทหาร


ผลงานของกลุ่มดิฉัน


ผลงานของกลุ่มอื่นๆ






วันศุกร์ ที่ 6 เดือนกันยายน พ.ศ.2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13
วันศุกร์  ที่ 6 เดือนกันยายน  พ.ศ.2556


วันนี้เรียนเรื่อง การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมประสบการณ์ทางภาษา

การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมประสบการณ์ทางภาษา
-สร้างสภาพแวดล้อมให้เด็กคุ้นเคยกับการใช้ภาษาอย่างมีความหมายและเป็นองค์รวม
-เด็กได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางภาษาโดยไม่เน้นเนื้อหาทางภาษา

หลักการ
-สอดคล้องกับวิธ๊การเรียนรู้ของเด็ก  ส่งเสริมให้เด็กสำรวจปฏิบัติจริง  เป็นผู้กระทำด้วยตนเอง เปิดโอกาศให้เด็กเป็นอิสระ
-สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับบุคคลรอบข้าง  เด็กควรได้สื่อสารสองทาง

มุมประสบการณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษา
-มุมหนังสือ
-มุมบทบาทสมมติ
-มุมศิลปะ
-มุมดนตรี

ลักษณะของการจัดมุมในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมทักษะทางภาษา
-มีพื้นที่ให้เด็กสามารถทำกิจกรรมได้
-เด็กรู้สึกผ่อนคลายเมื่ออยู่ในมุม
-เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน

มุมหนังสือ
-มีชั้นวางหนังสือประเภทต่างๆที่เหมาะสมกับวัย
-มีบรรยากาศที่สงบ และอบอุ่น
-มีพื้นที่ในการอ่านลำพังและเป็นกลุ่ม
-มีอุปกรณ์สำหรับการเขียน

มุมบทบาทสมมติ
-มีสื่ออุปกรณ์ที่สามารถให้เด็กเข้าไปเล่นได้
-มีพื้นที่ที่เพียงพอ

มุมศิลปะ
-จัดอุปกรณ์ที่หลากหลาย
-กรรไกร  กาว  สำหรับงานตัดและปะ

มุมดนตรี
-มีเครื่องดนตรีทั้งที่เป็นของเล่มและของจริง


และท้ายคาบอาจารย์ก็ให้คัดลายมือ ก-ฮ

วันพฤหัสบดีที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2556

วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556

วัน ศุกร์ ที่ 23 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2556


บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 11

วัน ศุกร์ ที่ 23 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2556


วันนี้ได้เรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ทางภาษา และมีเนื้อที่อาจารย์ได้อธิบายหรือสอนไว้ดังนี้
          
      ความหมาย
- วัสดุ  อุปกรณ์  หรือ  วิธีการต่างๆ
- ช่วยดพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ทางภาษา

      ความสำคัญของสื่อการเรียนรู้ทางภาษา
- เด็กเรียนรู้ได้ดีจากประสาทสัมผัส
- เข้าใจได้ง่าย
- เป็นรูปธรรม
- จำได้ง่าย เร็ว และ นาน

       ประเภทของสื่อการสอน
1.สื่อสิ่งพิมพื
- สื่อที่ใช่ระบบการพิมพ์
- เด็กได้เรียนรู้ตัวอักษร  การใช้คำ  ประโยค
2. สื่อวัสดุอุปกรณ์
- สิ่งของต่างๆ
- ของจริง หุ่นจำลอง แผนที่  แผนภูมิ ตาราง เป็นต้น
3.สื่อโสตทัศนูปกรร์
- สื่อที่นำเสนอด้วยเครื่องมือ  อุปกรณ์ต่างๆ
- คอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นแผ่น
4. สื่อกิจกรรม
- วิธีการที่ใช้ในการฝึกปฏิบัติ
- ใช้ทักษะกระบวนการคิด
5. สื่อบริบท
- สื่อที่ส่งเสริมการจัดประสบการณ์
- สภาพแวดล้อม
- ห้องเรียน

อาจารย์มีกิจกรรมให้นักเรียนทำ pop up ในห้องคนล่ะหนึ่งชิ้น

วันพฤหัสบดีที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2556

วันศุกร์ ที่16 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2556

บันทึกอนุทิน  ครั้งที่ 10

วันศุกร์ ที่16 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2556

วันนี้อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มละ 10 คน ส่วนกลุ่มหนูได้ระบายสีกบและในภาพก็เกียวกับอาเซียนส่วนหนูก็ได้กบประเทศสิงคโปร์"หนีห่าว"

ภาพของฉันสำหรับวันนี้




วันพฤหัสบดีที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556

วันศุกร์ ที่ 9 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2556

บันทึกอนุทิน  ครั้งที่ 9
วันศุกร์  ที่9  เดือนสิงหาคม  พ.ศ.2556


                        วันนี้อาจารย์ให้นั่งนักศึกษาช่วยกันแต่งนิทานให้เป็นเรื่องหนึ่ง ชื่อเรื่องนิทานของวันนี้นิทานเรื่องครอบครัวหมูน้อยแล้วอาจารย์ให้กระดาษแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ4คน ให้วาดภาพเรื่องที่กลุ่มตัวเองได้ตอนไหน ส่วนกลุ่มของฉันได้ตอนที่9 "ลูกหมูรีบวิ่งกลับบ้านไปบอกพ่อแม่"

ภาพระหว่างกลุ่มช่วยกัน



เสร้จสมบรูณ์แล้วค่ะ





วันพฤหัสบดีที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2556

วันศุกร์ ที่ 2 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 8
วันศุกร์   ที่ 2   เดือนสิงหาคม   พ.ศ.2556




สอบกลางภาค

วัน ศุกร์ ที่ 26 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2556

บันทึกอนุทิน  ครั้งที่ 7

วันศุกร์  ที่ 26  เดือนกรกฎาคม   พ.ศ.2556


      วันนี้อาจารย์ให้วาดรูปอะไรก็ได้ แล้วให้ออกไปเล่านิทานในนิทานที่จะเล่าต้องบมีชื่อรูปภาพที่เราวาดและนิทานต้องยเล่าตอจากเพื่อนๆ  และหนูก้ได้วาดรูป kitty


     เรื่อง  การประเมินเด็ก
1. ใช้เครื่องมือในการประเมินที่หลากหลาย
2. เน้นความก้าวหน้าของเด็ก
3. ประเมินจากบริบทที่หลากหลาย
4. ให้เด็กมีโอกาศประเมินตนเอง
5. ครูให้ความสนใจทั้งกระบวนการและผลงาน
6. ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล

อาจารย์ให้ลากเส้นให้ได้ 4 เส้น  พอลากเส้นเสร็จแล้วเอาปากกาจุดเส้นที่สุดท้าย
คติ:  ครูที่ดีต้องคิดให้เป็น  ต้องคิดให้แตกต่างจากคนอื่น
เป็นครูต้องคิดนอกกรอบ

ตัวอย่างกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษ่ะทางภาษา
- การเขียนตามคำบอกของเด็ก
- ช่วยเด็กเขียขนบันทึก
- อ่านนิทานร่วมกัน
- เขียนประกาศเพื่อแจ้งข้าว
- อ่านคำคล้องจอง
- ร้องเพลง
-เล่าสู้กันฟัง
- เขียนส่งสารถึงกัน



      อาจารย์ก็ได้เล่านิทานเล่าไปวาดไปให้ฟัง 2 เรื่อง  เรื่องแรก สุนัขจิ้งจอก  เรื่องที่สอง เกาะเต่าทอง และฉันจำเรื่องเกาะเต่าทองได้คราวๆ

           คุณยายอาศัยอยู่ที่กรุงเทพคุณยายเบื่อกรุงเทพเหลือเกินกรุงเทพมีแต่อากาศเป็นพิษรถก็ติด คุณยายก็เลยตัดสินใจย้ายไปอยู่บนเกาะ เกาะหนึ่งคุณยายเป็นรักธรรมชาติมากเลย  ก็เลยเดินสำรวจรอบเกาะ  เกาะที่มันจะเหมาะที่จะสร้างบ้านอยู่ในนนั้น  คุณยายเดินรอบเกาะไปเจอต้นไม้ต้นที่หนึ่งคุณยายเดินต่อไปจนเจอต้นไม้ต้นที่สอง  คุณยายเดินไปเลื่อยๆจนเจอต้นไม้ต้นที่สาม คุณยายก็เดินออ้มต่อไปเจอต้นไม้ต้นที่สี่  คุณยายเดินไปอีกนิดหนึ่งก็เจอต้นไม้ต้นที่ห้าแล้วก็เดินไปอีกจนเจอต้นไม้ต้นที่หก  คุณยายบอกว่าที่เกาะนี้มีต้นไม้เต็มไปหมด...................................................................เกาะเต่าทอง



วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

วัน ศุกร์ ที่ 19 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556



บันทึกอนุทิน  ครั้งที่ 6
วัน ศุกร์ ที่ 19  เดือนกรกฎาคม    พ.ศ.2556


แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
การจัดประสบการณ์ทางภาษาที่เน้นทักษะทางภาษา
- ให้เด็กรู้จักส่วนย่อยของภาษา
- การประสมคำ
- ความหมายของคำ

ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
- สนใจ อยากรู้อยากเห็นสิ่งรอบข้าง
- ช่างสงสัย ช่างซักถาม
- ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
- เลียนแบบคนรอบข้าง

หลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
1. การจัดสภาพแวดล้อม
        - หนังสือที่ใช้  จะต้องเป็นหนังสือที่ใช้ภาษาที่มีความหมายสมบรูณ์ในตัว
        - เด็กมีส่วนในการจัดสภาพแวดล้อม
2. การสื่อสารที่มีความหมาย
       - เด็กอ่านและเขียนอย่างมีจุดมุ่งหมาย
       - เด็กได้ใช้เวลาในการอ่านและเขียนตามโอกาศ
3. การเป็นแบบอย่าง
      - ครูอ่านและเขียนโดยมีจุดมุ่งหมายในการใช้ให้เด็กเห็น
4. การตั้งความคาดหวัง
     - เด็กสามารถอ่าน  เขียนได้ดีและถูกต้องยิ่งขึ้น
5. การคาดคะเน
     - เด็กมีโอกาศที่จะทดลองกับภาษา
    - เด็กได้คาดเดา
6. การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
    - ยอมรับการอ่านและการเขียนของเด็ก
    - ตอบสนองเด็กให้เหมาะกับสถานการณ์
7. การยอมรับนับถือ
    - ไม่ทำกิจกรรมตามลำดับขั้นตอน
    - เด็กมีความแตกต่างระหว่างบุคคล
8. การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
    - ให้เด็กรู้สึกปลอดภัยในการใช้ภาษา
    - เด็กมีความเชื่อมั่นว่าตนเองมีความสามารถ

       บทบาทครู  (นิรมล   ช่างวัฒนชัย, 2541)
- ครูคาดหวังเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
- ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนในการอ่าน การเขียน
- ครูควรยอมรับกับความไม่ถูกครบถ้วนของเด็ก
- ครูสร้างความสนใจในคำและสิ่งพิมพ์



วัน ศุกร์ ที่ 12 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2556



บันทึกอนุทิน  ครั้งที่ 5
วัน ศุกร์ ที่ 12  เดือนกรกฎาคม  พ.ศ. 2556

           วันนี้อาจารย์ให้วาดรูปสิ่งที่รักที่ชอบที่สุดในสมัยอนุบาลและให้ออกไปพูดหน้าชั้นเรียนเพราะเหตุผลอะไร    และอาจารย์ได้สอนเรื่อง องค์ประกอบของภาษา


นี่คือ "ขวดนม"สิ่งที่ฉันรักฉันชอบที่สุด




            เรื่อง องค์ประกอบของภาษา
1.    Phonology  ( เสียง )
          -  ระบบเสียงของภาษา          -   เสียงที่เปล่งออกมา เพื่อสื่อความหมาย          -   หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเป็นคำในภาษา2.    Semantic  ( ความหมาย )
          -   ความหมายของภาษา และ คำศัพท์          -   คำศัพท์บางคำสามารถมีไหลายความหมาย          -   ความหมายเหมือนกัน แต่คำศัพท์ต่างกัน3.    Syntax  ( ไวยากรณ์ )
          -   รูปแบบไวยากรณ์          -   การเรียงรูปประโยชน์4.    Pragmatic ( การนำไปใช้ )
          -  ระบบการนำไปใช้

          -  ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสถานการณ์ และ กาลเทศะ
            
            แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
     - เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
     - นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน




วัน ศุกร์ ที่ 5 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556



บันทึกอนุทิน  ครั้งที่ 4
วัน ศุกร์ ที่ 5  เดือนกรกฎาคม  พ.ศ. 2556



                         วันนี้อาจารย์ได้ให้พรีเซนต์งานกลุ่มที่ได้รับมอบหมายแต่ล่ะกลุ่ม  ส่วนกลุ่มของดิฉันได้หัวข้อเรื่อง องค์ประกอบของภาษาทางด้านภาษา  เนื้อหาคราวๆของกลุ่มดิฉันมีดังนี้


ภาษา มีองค์ประกอบ 4 ประการ คือ

  1. เสียง  ประกอบด้วยเสียงสระ  เสียงพยัญชนะและเสียงวรรณยุกต์ แต่บางภาษาก็ไม่มีเสียงวรรณยุกต์ เช่น ภาษาบาลี สันสกฤษ เขมร อังกฤษ

 2. พยางค์และคำ  พยางค์เป็นกลุ่มเสียงที่เปล่งออกมาแต่ละครั้ง จะประกอบด้วย เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ มีความหมายหรือไม่มีก็ได้  ส่วนคำจะเป็นการนำเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์มาประกอบกัน ทำให้เกิดเสียงและมีความหมาย คำจะประกอบด้วยคำพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้

3. ประโยค เป็นการนำเอาคำมาเรียงกันตามโครงสร้างของภาษาที่กำหนดเป็นกฎเกณฑ์ตามระบบของหลักไวยากรณ์ของแต่ละภาษา และทำให้ทราบหน้าที่ของคำ

4. ความหมาย โดยความหมายของคำแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
          4.1  ความหมายตามตัวหรือความหมายนัยตรง  เป็นความหมายของคำนั้นๆเป็นคำที่ถูกกำหนดและผู้ใช้ภาษามีความเข้าใจตรงกัน
         4.2  ความหมายในประหวัดหรือความหมายเชิงอุปมา  เป็นความหมายเพิ่มจากความหมายนัยตรง





วัน ศุกร์ ที่ 28 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2556


บันทึกอนุทิน  ครั้งที่ 3
วัน ศุกร์ ที่ 28  เดือนมิถุนายน   พ.ศ. 2556


วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องด้วยมีกิจกรรมการรับน้องมหาวิทยาลัย


ภาพจากกิจกรรมรับน้อง สาขาการศึกษาปฐมวัย











วัน ศุกร์ ที่ 21 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2556


บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 2
วัน ศุกร์ ที่่ 21 เดือนมิถุนายน  พ.ศ.2556


               วันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับเรื่อง ความหมายของภาษา  ภาษา หมายถึง การสื่อความหมาย ภาษาเครื่องมือในการแสดงความคิดและความรู้สึก  และภาษาได้บอกถึงหลายๆอย่าง
                 ความสำคัญของภาษา
1. ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
2. ภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
3. ภาษาเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความเข้าใจ
4. ภาษาเป็นเครื่องมือช่วยจรรโลงจิตใจ
               
                 ทักษะทางภาษา  ประกอบด้วย
-การฟัง
-การพูด
-การอ่าน
-การเขียน
ทฤษฎีพัมนาการทางสติปัญญาชอง  Piaget
การที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยที่สำคัญในการพัฒนาการทางด้านภาษาและสติปัญญา

                  กระบวนการเรียนรู้ประกอบด้วย  2  กระบวนการ  คือ
1. การดูดซึม 
2. การปรับความเข้าใจเดิมให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่

       Piaget ได้แบ่งพัฒนาการด้านสติปัญญาซึ่งมีความสัมพันธ์กับการใช้ภาษา ดังนี้
1. ขั้นพัฒนาการด้านประสาทสัมผัส
2.ขั้นเตรียมความคิดที่มีเหตุผล
3. ขั้นการคิดแบบรูปธรรม
4. ขั้นการคิดแบบนามธรรม

                    พัฒนาการภาษาของเด็ก
   เด็กค่อยๆสร้างความรู้และเข้าใจเป็นลำดับขั้นครูหรือผู้สอนต้องมีความเข้าใจและยอมรับหากพบเด็กใช้คำศัพท์ไม่ถูกต้องควรมองว่านั้นเป็นกระบวนการเรียนรู้ภาษาของเด็ก


ยายมีเลี้ยงหอย           ยายมอยเลี้ยงหมี
                                                หอยของยายมี            กัดหมีของยายมอย
ขนหมีของยายมอย   ติดที่ปากหอยของยายมี





วัน ศุกร์ ที่ 14 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2556


บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 1
วัน ศุกร์ ที่ 14  เดือนมิถุนายน  พ.ศ. 2556



                      วันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับเรื่่องความหมายของประสบการณ์ภาษาว่าการจัดประสบการณ์ทางภาษาควรเริ่มต้นจากการทำความเข้าใจก่อนว่าการจัดประสบการณ์มีความหมายที่กว้างกว่าการสอน   และสอนเรื่องการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยให้แตกแขนกเป็นหัวข้อย่อยๆและให้ทำ  Mind   Maps  ให้แยกแต่ละส่วนของการจัดประสบการณ์ทางภาษา  เพื่อเป็นการจัดเตรียมทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อให้เด็กได้รับการพัฒนาทางภาษา อาจารย์ก็ได้ให้ทำ   Mind  Maps  เป็นกลุ่ม แบ่งกลุ่มละ 4 คน  และกลุ่มของดิฉันก็ได้แตกแยกเป็นหัวข้อย่อย 4 หัวข้อ  ได้ขยายแต่ละหัวข้อให้ได้รายละเอียดและเรื่องสุดท้ายของวันนี้อาจารย์ได้สอนเรื่องการทำ Blogger  ได้สอนวิธีทำบล็อกเป็นขั้นตอนตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย  แล้วอาจารย์ก็ได้ให้นักศึกษาแต่ละคนได้ไปสร้าง Blogger เป็นของตัวเอง





      

วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

แนะนำตัวเอง


จะมาแนะนำให้คุณครูรู้จักเด็กคนนี้


          ฉันชื่อนางสาวสิริโฉม   เกตหา  ทุกคนต่างเรียกฉันว่า "จุ๋มจิ๋ม"  ฉันเกิดวันที่ 15 เดือน มกราคม  2536  อาศัยและเติบโตอยู่ที่บ้านเลขที่  78/2  หมู่5    ตำบลตรึม  อำเภอศีขรภูมิ    จังหวัดสุรินทร์   ฉันเติบโตมาจากครอบครัวที่แสนอบอุ่นรอบบ้านของฉันแวดล้อมไปด้วย  ต้นไม้  ป่าไม้   สระน้ำ   ฉันอาศัยอยู่กับพ่อแม่และตายาย  พี่สาว  น้องชาย   ของฉันในบ้านหลังเล็กๆหลังนี้  บ้านและครอบครัวของฉันคือสิ่งที่ฉันรักมากที่สุด  ฉันจะเป็นเด็กขี้แยและฉันยังเป็นเด็กที่ร้องไห้เสียงดังตลอดเวลาฉันเป็นเด็กที่ซุ่มซ่ามอย่างมาก  ฉันเป็นเด็กที่พูดมากและเสียงดังมาก

งานกลุ่ม: การจัดประสบการณ์ทางด้านภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย





แบบบันทึก วัน ศุกร์ที่14 เดือน มิถุนายน พ.ศ.2556





แบบบันทึก